ค้นหา

 นักวิจัย : จุฑารัตน์ เศรษฐกุล
นักวิจัย : นางจุฑารัตน์ เศรษฐกุล
Mrs. Jutarat Sethakul
รหัสนักวิจัย : 38041299
สังกัดหน่วยงาน : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กระทรวงศึกษาธิการ
Email Address : ksejutar@kmitl.ac.th
รางวัลที่ได้รับ : - ผลงานวิจัยดีเด่น เรื่อง การพัฒนาการจัดระดับเกรดซากสุกรและการใช้สารเร่งเนื้อแดง ที่มีผลต่อคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อสุกร
- รางวัลวิจัยระดับดี สาขาสัตวศาสตร์
- วิจัยระดับดี สาขาสัตว์ เรื่อง "ความแม่นยำของวิธีการวัดซากอย่างง่าย (LSQ) ในการประเมินเปอร์เซนต์เนื้อแดงในซากสุกรลูกผสม"
จำนวนผลงานวิจัย : 46
 ผลงานวิจัย
ไม่ระบุ :
  1. การศึกษาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพซากสุกร 1. อิทธิพลของระดับพลังงานและโปรตีนในสูตรอาหารที่มีต่อประสิทธิภาพการขุนและคุณภาพซากของสุกรลูกผสมต่างสายพันธุ์
  2. การชำแหละซากอุ่นต่อคุณภาพเนื้อสุกร
  3. การลดขั้นตอนกระบวนการจัดการเนื้อสัตว์จากการชำแหละซากอุ่นร่วมกับการบ่มเนื้อ เพื่อปรับปรุงคุณภาพเนื้อโคขุน
  4. การวิจัยการผลิตเนื้อสุกรคุณภาพเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
ปี 2532 :
  1. การศึกษาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพซากสุกร 1. อิทธิพลของระดับพลังงานและโปรตีนในสูตรอาหารที่มีต่อประสิทธิภาพการขุนและคุณภาพซากของสุกรลูกผสมต่างสายพันธุ์
ปี 2533 :
  1. การใช้กากถั่วเขียวจากโรงงานผลิตวุ้นเส้นในอาหารสุกร ระยะรุ่นขุน
  2. การใช้หนอนแมลงวันทดแทนกากถั่วเหลืองในอาหารสุกรเล็ก (15-30 ก.ก.)
ปี 2534 :
  1. การใช้หนอนแมลงวันทดแทนกากถั่วเหลืองในอาหารสุกรเล็ก (15-30 ก.ก.)
ปี 2535 :
  1. การใช้กากถั่วเขียวจากโรงงานผลิตวุ้นเส้นในอาหารสุกร ระยะรุ่นขุน
ปี 2539 :
  1. การลดปริมาณการติดเชื้อจุลินทรีย์บนซากสุกร โดยการใช้กรดแลคติก
ปี 2540 :
  1. ผลการเสริมเมทไทโอนีนในอาหารสุกรที่มีระดับไลซีน และพลังงานคงที่ต่อคุณลักษณะการให้ผลผลิตและคุณภาพซาก
  2. อิทธิพลของการลดอุณหภูมิในเนื้อที่มีผลต่อคุณภาพเนื้อสุกร
ปี 2541 :
  1. ผลของบีเทนต่อการทดแทนเมทไธโอนีน ความหนาของไขมันสันหลัง และคุณภาพซากของสุกรขุน
  2. ผลการเสริมเมทไทโอนีนในอาหารสุกรที่มีระดับไลซีน และพลังงานคงที่ต่อคุณลักษณะการให้ผลผลิตและคุณภาพซาก
ปี 2542 :
  1. การสำรวจคุณภาพเนื้อสุกรในประเทศไทย
  2. ผลของบีเทนต่อการทดแทนเมทไธโอนีน ความหนาของไขมันสันหลัง และคุณภาพซากของสุกรขุน
  3. การลดปริมาณการติดเชื้อจุลินทรีย์บนซากสุกร โดยการใช้กรดแลคติก
ปี 2543 :
  1. การลดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์บนเนื้อสุกรในการเก็บสภาวะอุณหภูมิห้องและที่อุณหภูมิ 10-15 องศาเซลเซียส โดยการใช้สารละลายกรดแลกติก
  2. การชำแหละซากอุ่นต่อคุณภาพเนื้อสุกร
  3. การลดขั้นตอนกระบวนการจัดการเนื้อสัตว์จากการชำแหละซากอุ่นร่วมกับการบ่มเนื้อ เพื่อปรับปรุงคุณภาพเนื้อโคขุน
  4. อิทธิพลของการลดอุณหภูมิในเนื้อที่มีผลต่อคุณภาพเนื้อสุกร
ปี 2544 :
  1. การสำรวจคุณภาพเนื้อสุกรในประเทศไทย
ปี 2545 :
  1. การพัฒนาการจัดระดับเกรดซากสุกรของประเทศไทย
  2. การลดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์บนเนื้อสุกรในการเก็บสภาวะอุณหภูมิห้องและที่อุณหภูมิ 10-15 องศาเซลเซียส โดยการใช้สารละลายกรดแลกติก
ปี 2547 :
  1. ผลของแบคเทอริโอซินร่วมกับกรดแลคติค ต่อการลดจำนวนเชื้อจุลินทรีย์ในเนื้อสุกร
ปี 2549 :
  1. ปัจจัยเสี่ยงในการปนเปื้อนเชื้อ FMD และจุลินทรีย์ก่อโรคของเนื้อสุกรในกระบวนการฆ่าและชำแหละของโรงฆ่ามาตราฐานนอกเขตปลอดโรค
  2. การพัฒนาโรงฆ่าสุกรต้นแบบขนาดเล็กที่ได้มาตรฐานสากล
  3. การพัฒนาการจัดระดับเกรดซากสุกรของประเทศไทย
  4. ผลของแบคเทอริโอซินร่วมกับกรดแลคติค ต่อการลดจำนวนเชื้อจุลินทรีย์ในเนื้อสุกร
ปี 2550 :
  1. การใช้กรดแลกติกร่วมกับการบ่มเนื้อที่มีต่ออายุการเก็บรักษา และคุณภาพเนื้อโค
  2. การวิจัยการผลิตเนื้อสุกรคุณภาพเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
  3. การพัฒนาโรงฆ่าสุกรต้นแบบขนาดเล็กที่ได้มาตรฐานสากลปีที่ 3 (โครงการใหญ่) การวิจัยการผลิตเนื้อสุกรคุณภาพเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
  4. คุณภาพเนื้อของโคที่เลี้ยงด้วยเปลือกสับปะรดเป็นอาหารหยาบ
  5. ปัจจัยเสี่ยงในการปนเปื้อนเชื้อ FMD และจุลินทรีย์ก่อโรคของเนื้อสุกรในกระบวนการฆ่าและชำแหละของโรงฆ่ามาตราฐานนอกเขตปลอดโรค
  6. การพัฒนาโรงฆ่าสุกรต้นแบบขนาดเล็กที่ได้มาตรฐานสากล
ปี 2551 :
  1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อจากไขมันวัวแยกส่วน ภายใต้ชุดโครงการวิจัย การขยายโอกาสธุรกิจเนื้อโคไทย
ปี 2552 :
  1. เรื่อง การใช้ฝักจามจุรีเลี้ยงกระบือ
  2. การวิจัยการผลิตเนื้อสุกรคุณภาพเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
  3. การพัฒนาโรงฆ่าสุกรต้นแบบขนาดเล็กที่ได้มาตรฐานสากลปีที่ 3 (โครงการใหญ่) การวิจัยการผลิตเนื้อสุกรคุณภาพเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
  4. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อจากไขมันวัวแยกส่วน ภายใต้ชุดโครงการวิจัย การขยายโอกาสธุรกิจเนื้อโคไทย
  5. ผลของวิธีการบ่มเนื้อร่วมกับการใช้สารละลายกรดแลกติกต่อคุณภาพและ ความปลอดภัยของเนื้อโค
ปี 2553 :
  1. การใช้กรดแลกติกร่วมกับการบ่มเนื้อที่มีต่ออายุการเก็บรักษา และคุณภาพเนื้อโค
  2. เรื่อง การใช้ฝักจามจุรีเลี้ยงกระบือ
ปี 2555 :
  1. คุณภาพเนื้อของโคที่เลี้ยงด้วยเปลือกสับปะรดเป็นอาหารหยาบ
  2. การศึกษายีนและการแสดงออกของยีน Calpastatin ในโคพื้นเมืองไทย
  3. คุณภาพเนื้อโคพันธุ์กำแพงแสน



สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ที่อยู่: 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน  อีเมลล์ : ridm@nrct.go.th