ค้นหา
งานวิจัย
นักวิจัย
คำค้น
นักวิจัย : พิมพร ลีลาพรพิสิฐ
นักวิจัย :
นางพิมพร ลีลาพรพิสิฐ
Mrs. Pimporn Leelapornpisid
รหัสนักวิจัย :
37030030
สังกัดหน่วยงาน :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กระทรวงศึกษาธิการ
จำนวนผลงานวิจัย :
49
ผลงานวิจัย
ไม่ระบุ :
การพัฒนาสารสกัดจากดอกอัญชันในรูปผงพ่นแห้ง
ปี 2534 :
การศึกษาวิจัยเมล็ดแมงลักและการพัฒนายาเตรียมเพื่อใช้เป็นยาระบาย
ปี 2540 :
การศึกษาวิจัยเมล็ดแมงลักและการพัฒนายาเตรียมเพื่อใช้เป็นยาระบาย
ปี 2541 :
การพัฒนายาทาภายนอกสำหรับต้านการอักเสบจากเถารางจืดตอนที่ 1
การพัฒนายาทาภายนอกสำหรับต้านการอักเสบจากเถารางจืดตอนที่ 1
ปี 2542 :
การพัฒนาสารสกัดจากใบหมี่ เพื่อใช้ในยาเตรียมและเครื่องสำอางตอนที่ 1: การศึกษาลักษณะทางเภสัชเวทและองค์ประกอบของสารสกัดจากใบหมี่
การพัฒนายาทาภายนอกสำหรับต้านการอักเสบจากเถารางจืด ตอนที่ 2
ปี 2543 :
การพัฒนาสารสกัดจากใบหมี่ เพื่อใช้ในยาเตรียมและเครื่องสำอางตอนที่ 1: การศึกษาลักษณะทางเภสัชเวทและองค์ประกอบของสารสกัดจากใบหมี่
การพัฒนายาทาภายนอกสำหรับต้านการอักเสบจากเถารางจืด ตอนที่ 2
ปี 2546 :
การวิจัยเพื่อหาคุณสมบัติและสูตรที่เหมาะสมสำหรับไคโตแซนที่จะนำมาใช้ในการเคลือบฟิล์มยาเม็ด
การพัฒนาวิธีโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง สำหรับวิเคราะห์ปริมาณอาร์บูตินในครีม
การศึกษาพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเมล็ดมะเกี๋ยงเพื่อใช้ทางยา เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง
ปี 2547 :
การวิจัยเพื่อหาคุณสมบัติและสูตรที่เหมาะสมสำหรับไคโตแซนที่จะนำมาใช้ในการเคลือบฟิล์มยาเม็ด
ปี 2548 :
การศึกษาพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเมล็ดมะเกี๋ยงเพื่อใช้ทางยา เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง
ปี 2549 :
การพัฒนาเครื่องสำอางรักษาสิวรูปแบบเจลจากสารสกัดกระบือเจ็ดตัว
การศึกษาฤทธิ์ต้านแบคทีเรียก่อสิวของสารสกัดและน้ำหมักของพืชไทย
การพัฒนาวิธีโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง สำหรับวิเคราะห์ปริมาณอาร์บูตินในครีม
การพัฒนาเครื่องสำอางรักษาสิวรูปแบบเจลจากสารสกัดกระบือเจ็ดตัว
ปี 2550 :
การประเมินประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ทำให้ผิวขาวที่มีจำหน่ายในจังหวัดเชียงใหม่
การศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อสิวและของเมล็ดมะเกี๋ยง
การศึกษาฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของว่านชักมดลูก
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในสปาจากพืชหอมไทยล้านนา
การพัฒนาผลิตภัณฑ์พอกหน้าผสมน้ำมันหอมระเหยตามราศีเพื่อใช้สปา
การพัฒนาผลิตภัณฑ์รักษาสิวจากสารสกัดพืชที่ปลูกในท้องถิ่นภาคเหนือ
การผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากจุลินทรีย์เพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การศึกษาฤทธิ์ต้านแบคทีเรียก่อสิวของสารสกัดและน้ำหมักของพืชไทย
ปี 2551 :
การศึกษาฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นของว่านชักมดลูก
การศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อสิว Propionibacterium acenes และ Staphylococus aureus ของเมล็ดมะเกี๋ยง
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารสกัดพืช ซึ่งให้ผลต้านสภาวะเครียดจากออกซิเดชั่นในผิวหนัง
กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระทนร้อนของรงควัตถุกลุ่มไฟโคบิลิดโปรตีนจากไชยาในแบคทีเรียในน้ำพุร้อน เพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ทนร้อนด้านอื่น
การศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อสิว Propionibacterium acnes และ Staphylococus aureus ของเมล็ดมะเกี๋ยง
กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระทนร้อนของรงควัตถุกลุ่มไฟโคบิลิโปรตีนจากไซยาโนแบคทีเรียในน้ำพุร้อนเพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ทนร้อนด้านอื่น
การผลิตวัตถุดิบมูลค่าสูงจากสารสกัดใบหมี่ (Litsea glutinosa C.B. Robinson) ด้วยเทคโนโลยีนาโน เพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสำหรับผม
การผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากจุลินทรีย์เพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ปี 2552 :
การผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากจุลินทรีย์เพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การสกัดและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเมล็ดลิ้นจี่
การสกัดและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของไฟโคไซยานินจากสาหร่ายสไปรูลินา
การผลิตสารลดแรงดึงผิวชีวภาพจากจุลินทรีย์เพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การประเมินประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ทำให้ผิวขาวที่มีจำหน่ายในจังหวัดเชียงใหม่
การศึกษาฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นของว่านชักมดลูก
การผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากจุลินทรีย์เพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การพัฒนาสารสกัดจากดอกอัญชันในรูปผงพ่นแห้ง
กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระทนร้อนของรงควัตถุกลุ่มไฟโคบิลิดโปรตีนจากไชยาในแบคทีเรียในน้ำพุร้อน เพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ทนร้อนด้านอื่น
การผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากจุลินทรีย์เพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ( เฟส 3)
ปี 2553 :
การสกัดและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเมล็ดลิ้นจี่
การสกัดและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของไฟโคไซยานินจากสาหร่ายสไปรูลินา
ปี 2554 :
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารสกัดพืช ซึ่งให้ผลต้านสภาวะเครียดจากออกซิเดชั่นในผิวหนัง
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและเครื่องสำอางจากสารสกัดมะเกี๋ยง
การพัฒนาสารเมือกจากพืชไทยเพื่อประยุกต์ใช้ในเครื่องสำอางบำรุงผิว
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ที่อยู่: 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน
อีเมลล์ : ridm@nrct.go.th