ค้นหา

 นักวิจัย : ยุวดี พีรพรพิศาล
นักวิจัย : นางยุวดี พีรพรพิศาล
Mrs. Yuwadee Peerapornpisal
รหัสนักวิจัย : 37040066
สังกัดหน่วยงาน : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รางวัลที่ได้รับ : - รางวัลการตีพิมพ์ผลงานวิจัย ลำดับที่ 2
- รางวัลชนะเลิศการแข่งขันรางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2547
- รางวัลชนะเลิศการประกวดโปสเตอร์ ที่ 1 และที่ 2 ในการประชุมวิชาการ International Conference on Water Resource Management for Safe Drinking Water 2003
- รางวัลชนะเลิศการประกวดโปสเตอร์ ที่ 1 และที่ 2 ในการประชุมวิชาการ International Conference on Water Resource Management for Safe Drinking Water 2003
- รางวัลชนะเลิศการประกวดโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการ 3rd Asian-Pacific Phycological Forum เมือง Tsukuba ประเทศญี่ปุ่น
- รางวัลดีเด่นจากการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย Young Desmid Taxonomist Talent Award ในการประชุมวิชาการ International Symposium on Biology and Taxonomy of Green Algae ครั้งที่ 5 เมือง Smolenice ประเทศสโลวาเกีย
- รางวัลที่ 1 จากการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 3
- รางวัลที่ 1 จากการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 3
- รางวัลที่ 1 จากการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 3
- รางวัลที่ 1 จากการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 3
- รางวัลที่ 1 จากการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 3
- รางวัลที่ 1 จากการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 3
- รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งปี
- รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งปี
- รางวัลโปสเตอร์ดีเยี่ยม ในการประชุมวิชาการ Marine Algae and Global Warming กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
- รางวัลโปสเตอร์ดีเยี่ยม ในการประชุมวิชาการ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
- รางวัลโปสเตอร์ยอดเยี่ยม ในการประชุมวิชาการโครงการ BRT ประจำปี 2547
- รางวัลผลงานวิจัยประยุกต์ดีเด่น ประจำปี 2545
- รางวัลผู้มีผลงานในการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการแก่สังคม และชุมชนดีเด่น ประจำปี 2546
- รางวัลมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ "ช้างทองคำ" และ "โล่ประกาศเกียรติคุณ" อาจารย์ดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2550
- รางวัลมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ "ช้างทองคำ" และ "โล่ประกาศเกียรติคุณ" อาจารย์ดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2550
- รางวัลมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ "ช้างทองคำ" และ "โล่ประกาศเกียรติคุณ" อาจารย์ดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2550
จำนวนผลงานวิจัย : 47
 ผลงานวิจัย
ไม่ระบุ :
  1. ศักยภาพของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่ ในการเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเวชสำอาง
  2. การเจริญเติบโต เอนไซม์ และประสิทธิภาพการย่อยอาหารของปลาบึก ที่เลี้ยงด้วยอาหารเสริมสาหร่ายสไปรูลินาเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการค้า
  3. การศึกษาสาหร่าย Microcystis aeruginosa Kutz. ทางด้านนิเวศวิทยา และพิษวิทยาของบางแหล่งน้ำในภาคเหนือของประเทศไทย
  4. คุณภาพน้ำ การกระจาย และผลผลิตเบื้องต้นของแพลงตอนพืชในอ่างเก็บน้ำ เขื่อนแม่กวง เชียงใหม่
ปี 2533 :
  1. คุณค่าทางโภชนาการ และการเพาะเลี้ยงสาหร่าย
ปี 2534 :
  1. การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทางด้านชีววิทยาจากแหล่งน้ำบนดอยอินทนนท์และแม่ปิง
ปี 2535 :
  1. คุณค่าทางโภชนาการ และการเพาะเลี้ยงสาหร่าย
ปี 2538 :
  1. การประเมินคุณภาพน้ำ โดยใช้ดัชนีทางด้านชีวภาพเพื่อศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของต้นแม่น้ำแม่กลางบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์
ปี 2539 :
  1. คุณภาพน้ำ การกระจาย และผลผลิตเบื้องต้นของผพลงก์ตอนพืช ในอ่างเก็บน้ำเขื่อนแม่กวง อุดมธารา เชียงใหม่
ปี 2540 :
  1. การศึกษาคุณภาพน้ำในอ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้แพลงก์ตอนเป็นดัชนีชีวภาพ (ปีที่ 2)
  2. ความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญ บริเวณแอ่งที่ราบเชียงใหม่ ลำพูน
ปี 2541 :
  1. การศึกษาคุณภาพน้ำในอ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้แพลงก์ตอนเป็นดัชนีชีวภาพ (ปีที่ 2)
  2. การศึกษาและวิเคราะห์คุณภาพน้ำแม่ปิงหลังผ่านย่านชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ ในด้านกายภาพเคมี และชีวภาพ
ปี 2542 :
  1. การศึกษาและวิเคราะห์คุณภาพน้ำแม่ปิงหลังผ่านย่านชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ ในด้านกายภาพเคมี และชีวภาพ
  2. การสำรวจพรรณไม้ในบริเวณมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  3. คุณภาพน้ำ การกระจาย และผลผลิตเบื้องต้นของแพลงก์ตอนพืช ในอ่างเก็บน้ำเขื่อนแม่กวง อุดมธารา เชียงใหม่
  4. การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทางด้านชีววิทยาจากแหล่งน้ำบนดอยอินทนนท์และแม่ปิง
ปี 2543 :
  1. การประเมินคุณภาพน้ำ โดยใช้ดัชนีทางด้านชีวภาพเพื่อศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของต้นแม่น้ำแม่กลางบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์
  2. การสำรวจพรรณไม้ในบริเวณมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  3. ความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญ บริเวณแอ่งที่ราบเชียงใหม่ ลำพูน
ปี 2544 :
  1. การศึกษาสาหร่าย Microcystis Aeruginosa Kutz. ทางด้านนิเวศวิทยา และพิษวิทยาของบางแหล่งน้ำในภาคเหนือของประเทศไทย
ปี 2545 :
  1. การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Spirulina platensis ระดับนำร่องจากน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วจากระบบก๊าซชีวภาพฟาร์มเลี้ยงสุกร ปีที่ 2
  2. การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Spirulina Platensis ระดับนำร่องจากน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วจากระบบก๊าซชีวภาพฟาร์มเลี้ยงสุกร : ปีที่ 2
  3. การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Spirulina Platensis ระดับนำร่องจากน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วจากระบบก๊าซชีวภาพฟาร์มเลี้ยงสุกร : ปีที่ 2
ปี 2546 :
  1. การใช้ประโยชน์บางประการจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินที่ทนร้อนจากน้ำพุร้อน บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
ปี 2547 :
  1. การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Spirulina Platensis ระดับนำร่องจากน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วจากระบบก๊าซชีวภาพฟาร์มเลี้ยงสุกร ปีที่ 2
ปี 2548 :
  1. การใช้ประโยชน์บางประการจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินที่ทนร้อนจากน้ำพุร้อน บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
  2. การศึกษาสาหร่าย Microcystis Aeruginosa Kutz. ทางด้านนิเวศวิทยา และพิษวิทยาของบางแหล่งน้ำในภาคเหนือของประเทศไทย
ปี 2549 :
  1. ผลของระบบการเลี้ยงต่อการกำจัดกลิ่นโคลนในปลานิล
ปี 2550 :
  1. คลังสาหร่าย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : การศึกษาข้อมูลทางพันธุกรรม สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เพื่อประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและการเรียนการสอน
  2. แม่น้ำโขง : ศักยภาพของสาหร่ายและแมลงน้ำในการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทางชีวภาพ การใช้เป็นอาหารและยาเพื่อการถ่ายทอดสู่ท้องถิ่น
ปี 2551 :
  1. กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระทนร้อนของรงควัตถุกลุ่มไฟโคบิลิดโปรตีนจากไชยาในแบคทีเรียในน้ำพุร้อน เพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ทนร้อนด้านอื่น
  2. การใช้สาหร่ายสไปรูลินาเป็นอาหารเสริม เพื่อปรับปรุงภูมิคุ้มกันและเพิ่มผลผลิตกุ้งก้ามกราม
  3. คลังสาหร่าย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : การศึกษาข้อมูลทางพันธุกรรม สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เพื่อประโยชน์ด้านอุตสาหกรรม และการเรียนการสอน
  4. กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระทนร้อนของรงควัตถุกลุ่มไฟโคบิลิโปรตีนจากไซยาโนแบคทีเรียในน้ำพุร้อนเพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ทนร้อนด้านอื่น
  5. การใช้สาหร่ายสไปรูลินาเป็นอาหารเสริมเพื่อปรับปรุงภูมิคุ้มกันและเพื่มผลผลิตกุ้งก้ามกราม
ปี 2552 :
  1. ศักยภาพของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่ในการเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและ เวชสำอาง
  2. ผลของระบบการเลี้ยงต่อการกำจัดกลิ่นโคลนในปลานิล
  3. กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระทนร้อนของรงควัตถุกลุ่มไฟโคบิลิดโปรตีนจากไชยาในแบคทีเรียในน้ำพุร้อน เพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ทนร้อนด้านอื่น
  4. การใช้สาหร่ายสไปรูลินาเป็นอาหารเสริม เพื่อปรับปรุงภูมิคุ้มกันและเพิ่มผลผลิตกุ้งก้ามกราม
  5. การเจริญเติบโต เอนไซม์ และประสิทธิภาพการย่อยอาหารของปลาบึก ที่เลี้ยงด้วยอาหารเสริมสาหร่ายสไปรูลินาเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการค้า
  6. ศักยภาพของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่ในการเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเวชสำอาง
ปี 2553 :
  1. ศักยภาพของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่ ในการเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเวชสำอาง
  2. การศึกษาสายพันธุ์สาหร่ายขนาดเล็กและพัฒนาสภาวะที่ใช้เพาะเลี้ยงเพื่อหาความเป็นไปได้ในการผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิง
ปี 2554 :
  1. ผลของสาหร่ายเตาต่อการป้องกันการเกิดมะเร็งตับและลำไส้ใหญ่ในหนูทดลอง
ปี 2555 :
  1. การเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กแบบมิกโซโทรฟิก เพื่อน้ำมันชีวภาพจากสาหร่าย
ปี 2558 :
  1. การใช้ประโยชน์จากสาหร่ายเตาเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพและเวชภัณฑ์แบบครบวงจร



สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ที่อยู่: 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน  อีเมลล์ : ridm@nrct.go.th