ค้นหา

 นักวิจัย : วันเพ็ญ ชัยคำภา
นักวิจัย : นางวันเพ็ญ ชัยคำภา
Mrs. Wanpen Chaicumpa
รหัสนักวิจัย : 38020114
สังกัดหน่วยงาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
Email Address : tmwcc@mahidol.ac.th, tmwcc@yahoo.com
รางวัลที่ได้รับ : - For Women in Science Special Honor. เกี่ยวกับโรคและพยาธิที่พบในเมืองร้อน
- นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
- ผลงานประดิษฐ์คิดค้น เรื่อง ผลิตผล กรรมวิธี กระบวนการและวิธีสำหรับวินิจฉัยโรคเขตร้อนโดยอิมมิวโนวิทยา
- ผลงานวิจัยดีเยี่ยม เรื่องการศึกษาภูมิคุ้มกันของลำไส้ต่อเชี้ออหิวาต์:การเตรียมฮีแมกกูลตินินที่บริสุทธิ์และการศึกษาความคุ้มกันของแอนติบอดี้ต่อฮีแมกกูลตินินในการป้องกันโรคอหิวาต์ในสัตว์ทดลอง
- ผลงานวิจัยดีเยี่ยม เรื่อง ความสามารถของเซลล์เอน-เคในการทำลายเชื้อมาลาเรียชนิดฟาลซิพารั่มในเม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อซึ่งเลี้ยงไว้ในอาหารเลี้ยงเชื้อ
- ผลงานวิจัยดีเยี่ยม เรื่อง ความสามารถของเซลล์เอน-เคในการทำลายเชื้อมาลาเรียชนิดฟาลซิพารั่มในเม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อซึ่งเลี้ยงไว้ในอาหารเลี้ยงเชื้อ
- ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย
จำนวนผลงานวิจัย : 45
 ผลงานวิจัย
ไม่ระบุ :
  1. พยาธิวิทยาของโรคติดเชื้อเอ็นเทอโรฮีไมฮาจิกอีโคโล
  2. การวินิจฉัยโรคไอกรน โดยวิธีอีไลซาและการเพิ่มสารพันธุกรรม
  3. การพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตส์ไปโรซีสโดยการตรวจหาแอนติเจนในตัวอย่างสงสัยตรวจ
  4. การศึกษาเพื่อค้นหาโปรตีนในซีรัมของผู้ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับชนิด (Opisthorchis Viverrini) ซึ่งอาจเป็นเครื่องหมายบ่งชี้การเป็นมะเร็งท่อน้ำดี
  5. การผลิตโมโนโคลนาลแอนติบอดีจำเพาะต่อ allergens จากแมลงสาบและการผลิต recombinant allergens
ปี 2529 :
  1. วัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์ให้ทางปากเตรียมจากลิโพโพลี่แซคคาไลด์แอคฮีซีนและส่วนบีของสารพิษ
ปี 2532 :
  1. วัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์ให้ทางปากเตรียมจากลิโพโพลี่แซคคาไลด์แอคฮีซีนและส่วนบีของสารพิษ
ปี 2536 :
  1. การตรวจหาแอนติเจนของเชื้ออหิวาต์อย่างรวดเร็ว
  2. Production of Specific Monoclonal Antibody to B.Pestussis Toxin.
ปี 2537 :
  1. Production of Specific Monoclonal Antibody to B.Pestussis Toxin.
ปี 2538 :
  1. การศึกษาเพื่อพัฒนาชุดการตรวจวินิจฉัยทางน้ำเหลืองวิทยาต่อโรคพยาธิใบไม้ปอด (Paragonimus heterotremus)
ปี 2539 :
  1. การพัฒนาวิธีการวินิจฉัยอหิวาต์ซึ่งเกิดจากเชื้อ Vibrio Cholerase Serogroup 0:139 และการตรวจหาแอนติเจนอย่างรวดเร็ว
ปี 2540 :
  1. การใช้อีไลซ่าเทคนิคในการตรวจแอนติบอดี้ต่อเชื้อ ซาลโมเนลล่า เอนเตอริทิดิส ในไก่
  2. การพัฒนาวิธีการวินิจฉัยอหิวาต์ซึ่งเกิดจากเชื้อ Vibrio Cholerase Serogroup 0:139 และการตรวจหาแอนติเจนอย่างรวดเร็ว
  3. การตรวจหาแอนติเจนของเชื้ออหิวาต์อย่างรวดเร็ว
ปี 2541 :
  1. พยาธิวิทยาของโรคติดเชื้อเอ็นเทอโรฮีไมฮาจิกอีโคโล
  2. การวินิจฉัยโรคไอกรน โดยวิธีอีไลซาและการเพิ่มสารพันธุกรรม
  3. การพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรซีสโดยการตรวจหาแอนติเจนในตัวอย่างสงสัยตรวจ
ปี 2543 :
  1. การศึกษาเพื่อพัฒนาชุดการตรวจวินิจฉัยทางน้ำเหลืองวิทยาต่อโรคพยาธิใบไม้ปอด (Paragonimus heterotremus)
  2. การใช้อีไลซ่าเทคนิคในการตรวจแอนติบอดี้ต่อเชื้อ ซาลโมเนลล่า เอนเตอริทิดิส ในไก่
ปี 2544 :
  1. การตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonellae อย่างรวดเร็วในตัวอย่างอาหารโดยวิธี Immunamagnetic Enrichment และ Enzyme Immunoassay
ปี 2545 :
  1. การศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะลำไส้บีบตัวผิดปกติ และการติดเชื้อปรสิต
ปี 2546 :
  1. โครงการวิทยาภูมิคุ้มกันเพื่อวินิจฉัยโรคติดเชื้อและการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์ชนิดกิน
  2. การตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonellae อย่างรวดเร็วในตัวอย่างอาหารโดยวิธี Immunamagnetic Enrichment และ Enzyme Immunoassay
ปี 2547 :
  1. วิทยาภูมิคุ้มกันเพื่อวินิจฉัยโรคติดเชื้อและการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์ชนิดกิน
ปี 2548 :
  1. การศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะลำไส้บีบตัวผิดปกติ และการติดเชื้อปรสิต
ปี 2549 :
  1. การเปลี่ยนโมโนโคลนาลแอนติบอดีของหนูไมซีให้มีโครงสร้างคล้ายคลึงอิมมิวโนกลอบูลินส์ของมนุษย์ เพื่อใช้ในการรักษาโรคฉี่หนู (เลปโตสไปโรซีส) และการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคฉี่หนู ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อหลายสายพันธุ์ได้
  2. การศึกษาเพื่อค้นหาโปรตีนในซีรัมของผู้ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับชนิด (Opisthorchis Viverrini) ซึ่งอาจเป็นเครื่องหมายบ่งชี้การเป็นมะเร็งท่อน้ำดี
  3. การผลิตโมโนโคลนาลแอนติบอดีจำเพาะต่อ allergens จากแมลงสาบและการผลิต recombinant allergens
ปี 2550 :
  1. การเปลี่ยนโมโนโคลนาลแอนติบอดีของหนูไมซีให้มีโครงสร้างคล้ายคลึงอิมมิวโนกลอบูลินส์ของมนุษย์ เพื่อใช้ในการรักษาโรคฉี่หนู (เลปโตสไปโรซีส) และการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคฉี่หนู ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อหลายสายพันธุ์ได้
ปี 2551 :
  1. อณูชีววิทยาของไวรัสที่สำคัญและอุบัติใหม่ในประเทศไทย
  2. อณูชีววิทยาทางการแพทย์
  3. อณูชีววิทยาของไวรัสที่สำคัญและอุบัติใหม่ในประเทศไทย
  4. อณูชีววิทยาทางการแพทย์
  5. การ Typing เชื้อ Leptospira ที่แยกได้จากคนและสัตว์ในประเทศไทยโดยวิธี Multiple-Locus Variable Number of Tandem Repeat Analysis (MLVA)
  6. การวินิจฉัยเชื้อก่อโรค Escherichia coli แบบรวดเร็วในผู้ป่วยอุจจาระร่วงโดยวิธี single multiplex PCR
  7. การวิเคราะห์ส่วนประกอบโปรตีนและแอนติเจนเฉพาะของตัวอ่อนระยะที่สามของพยาธิตัวจี๊ดและการผลิตแอนติเจนเพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคพยาธิตัวจี๊ดโดยวิธีพันธุวิศวกรรม
ปี 2552 :
  1. การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพในการตรวจวัดความเสถียรของระบบบำบัดน้ำเสียด้วยระบบเติมอากาศ
  2. การผลิตแอนดี้บอดี้ สายเดี๋ยวของมนุษย์ชนิดโนโคลนาต่อโปรตีนของไวรัส H5N1
ปี 2553 :
  1. การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพในการตรวจวัดความเสถียรของระบบบำบัดน้ำเสียด้วยระบบเติมอากาศ
ปี 2559 :
  1. การค้นหาการอุบัติและวิวัฒนาการของไบโอทัยป์ลูกผสมและเอลทอร์แวเรียนท์ในเชื้ออหิวาต์ O1 ที่แยกได้จากผู้ป่วยในประเทศไทยระหว่างปี พ. ศ. 2510 ถึง 2553
  2. Proteome, Allergenome, and Novel Allergens of House Dust Mite, Dermatophagoides farinae.
  3. Inhibition of HCV replication by humanized-single domain transbodies to NS4B.
  4. Human Transbodies to HCV NS3/4A Protease Inhibit Viral Replication and Restore Host Innate Immunity.
  5. Structural Characterization of Humanized Nanobodies with Neutralizing Activity against the Bordetella pertussis CyaA-Hemolysin: Implications for a Potential Epitope of Toxin-Protective Antigen.



สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ที่อยู่: 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน  อีเมลล์ : ridm@nrct.go.th