ค้นหา

 นักวิจัย : สุเมตต์ ปุจฉาการ
นักวิจัย : นายสุเมตต์ ปุจฉาการ
Mr. Sumaitt Putchakarn
รหัสนักวิจัย : 38040901
สังกัดหน่วยงาน : มหาวิทยาลัยบูรพา กระทรวงศึกษาธิการ
Email Address : sumaitt@bims.buu.ac.th
รางวัลที่ได้รับ : - รางวัลชมเชยผลงานวิจัย สาขาประมง
จำนวนผลงานวิจัย : 49
 ผลงานวิจัย
ปี 2534 :
  1. การศึกษาอนุกรมวิธานของเอไคโนเดริม บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก
  2. การศึกษาคุณภาพน้ำในบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
ปี 2535 :
  1. การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้พืชพรรณพื้นเมืองของไทย ที่มีฮอร์โมนลอกคราบผลิตเป็นอาหารผสมสำหรับเร่งการลอกคราบกุ้งกุลาดำ
ปี 2536 :
  1. การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้พืชพรรณพื้นเมืองของไทย ที่มีฮอร์โมนลอกคราบผลิตเป็นอาหารผสมสำหรับเร่งการลอกคราบกุ้งกุลาดำ
ปี 2537 :
  1. คุณภาพน้ำชายฝั่งจังหวัดชลบุรี (ศรีราชา-เมืองใหม่) ปี 2537
  2. ผลกระทบของโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออกที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล
ปี 2540 :
  1. คุณภาพน้ำชายฝั่งจังหวัดชลบุรี (ศรีราชา-เมืองใหม่) ปี 2537
  2. ผลกระทบของโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออกที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล
  3. การศึกษาคุณภาพน้ำในบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
ปี 2541 :
  1. การศึกษาสารไบโอแอกทีฟ เมตาบอไลท์จากแบคทีเรียทะเลที่อาศัยอยู่กับฟองน้ำในประเทศไทย
  2. การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งการลงเกาะของตัวอ่อนของเพรียงหิน, โดยแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในฟองน้ำและปะการังอ่อนของไทย
ปี 2542 :
  1. การศึกษาสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากแบคทีเรียทะเลที่อาศัยอยู่กับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด
  2. การศึกษาอนุกรมวิธานของเอไคโนเดิร์ม บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก
ปี 2543 :
  1. การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งการลงเกาะของตัวอ่อนของเพรียงหิน, โดยแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในฟองน้ำและปะการังอ่อนของไทย
ปี 2546 :
  1. ความหลากหลายของชนิดและการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการัง บริเวณเกาะครามและเกาะใกล้เคียง จังหวัดชลบุรี
  2. การศึกษาสารไบโอแอกทีฟ เมตาบอไลท์จากแบคทีเรียทะเลที่อาศัยอยู่กับฟองน้ำในประเทศไทย
ปี 2548 :
  1. สัตว์ทะเลหน้าดินบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
ปี 2549 :
  1. ความหลากหลายทางชีวภาพของฟองน้ำ จากชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย : จังหวัดชลบุรีและระยอง
ปี 2550 :
  1. ความหลากหลายทางชีวภาพของฟองน้ำจากชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย : จังหวัดจันทบุรีและตราด
  2. สัตว์ทะเลหน้าดินบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
  3. ความหลากหลายของชนิดและการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการัง บริเวณเกาะครามและเกาะใกล้เคียง จังหวัดชลบุรี
ปี 2551 :
  1. บทบาทของสารทุติยภูมิที่พบในทากเปลือยและฟองน้ำที่เป็นอาหาร
  2. ความหลากหลายทางชีวภาพของฟองน้ำ จากชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย : จังหวัดชลบุรีและระยอง
  3. ความหลากหลายทางชีวภาพของฟองน้ำจากชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย : จังหวัดจันทบุรีและตราด
ปี 2552 :
  1. การประเมินสถานภาพองค์ประกอบชีวภาพของระบบนิเวศในพื้นที่อุตสาหกรรมชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
  2. สถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชายฝั่งทะเล บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้ และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
  3. การประเมินสถานภาพองค์ประกอบชีวภาพของระบบนิเวศในพื้นที่อุตสาหกรรมชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
  4. บทบาทของสารทุติยภูมิที่พบในทากเปลือย และฟองน้ำที่เป็นอาหาร
  5. สถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชายฝั่งทะเล บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
  6. ทรัพยากรชีวภาพทางทะเลกับการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน กรณีศึกษาหาดนางรอง เกาะจรเข้และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (สนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
  7. ความผันแปรของลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางพันธุกรรมของปะการังอ่อน, Sinularia May, 1898 (Octocorallia, Alcyonacea) ที่พบบริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
ปี 2553 :
  1. สถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชายฝั่งทะเล บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้ และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
  2. การศึกษาสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากแบคทีเรียทะเลที่อาศัยอยู่กับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด
  3. ความหลากหลายทางชนิดของฟองน้ำทะเลที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันตก
  4. แนวปะการังน้ำตื้นของเกาะกับระดับน้ำทะเล
  5. ลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายของจุลชีพที่อาศัยอยู่ร่วมกับฟองน้ำทะเล
  6. ความผันแปรของลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางพันธุกรรมของปะการังอ่อน, Sinularia May, 1898 (Octocorallia: Alcyonacea) ที่พบบริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
  7. ทรัพยากรชีวภาพทางทะเลกับการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน กรณีศึกษาหาดนางรอง เกาะจรเข้และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (สนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
  8. สถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชายฝั่งทะเล บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
ปี 2555 :
  1. แนวปะการังน้ำตื้นของเกาะกับระดับน้ำทะเล
  2. ฟองน้ำทะเลและเอคไคโนเดิร์มในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี
  3. ความหลากหลายทางชนิดของฟองน้ำทะเลที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันตก
  4. ทรัพยากรชีวภาพทางทะเลในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี : องค์ความรู้ผันสู่วิถีไทยและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (สนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
ปี 2556 :
  1. ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มสัตว์ทะเลที่มีโลโฟฟอร์ (Lophophorates) บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย
ปี 2557 :
  1. ความหลากหลายทางชนิดของฟองน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเล อ่าวไทยตอนกลาง ปี 2557
  2. ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มสัตว์ทะเลที่มีโลโฟฟอร์ (Lophophorates) บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย ประจำปีงบประมาณ 2557
ปี 2558 :
  1. ลักษณะทางพันธุกรรมของประชาคมแบคทีเรียและการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี
  2. ชุมชนฟองน้้าทะเลและเอคไคโนเดิร์มกับความแปรผันของสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี (สนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) ประจำปี 2557
  3. การพัฒนาทรัพยากรชีวภาพทางทะเลบริเวณหมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรีเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)



สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ที่อยู่: 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน  อีเมลล์ : ridm@nrct.go.th