ค้นหา

 นักวิจัย : เจษฎา อิสเหาะ
นักวิจัย : นายเจษฎา อิสเหาะ
Mr. Jetsada Ishaak
รหัสนักวิจัย : 38041212
สังกัดหน่วยงาน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ กระทรวงศึกษาธิการ
จำนวนผลงานวิจัย : 67
 ผลงานวิจัย
ไม่ระบุ :
  1. การเพาะเลี้ยงหนอนจิ๋ว
  2. การเพาะเลี้ยงกุ้งฝอย
ปี 2539 :
  1. ผลของอาหารมีโปรตีนจากพืชและสัตว์ต่างระดับต่อการเจริญเติบโตของปลาแรด
  2. ผลของอาหารมีโปรตีนจากพืชและสัตว์ต่างระดับต่อการเจริญเติบโตของปลาแรด
ปี 2541 :
  1. การศึกษาความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำกับระดับความหนาแน่น และเปอร์เซ็นต์การให้อาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของตะพาบน้ำพันธุ์ไต้หวัน
  2. ระดับของวิตามินอี และวิตามินซี ต่อพัฒนาของระบบสืบพันธุ์ปลาแรด
  3. การศึกษาความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำกับระดับความหนาแน่น และเปอร์เซ็นต์การให้อาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของตะพาบน้ำพันธุ์ไต้หวัน
ปี 2543 :
  1. ผลของอาหารเม็ดที่มีอัตราส่วนของโปรตีนต่อพลังงานต่างกัน ต่ออัตราการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของปลาแรดเผือกที่เลี้ยงในกระชัง
  2. ผลของอาหารเม็ดที่มีอัตราส่วนของโปรตีนต่อพลังงานต่างกัน ต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาแรดเผือกที่เลี้ยงในกระชัง
  3. การทดลองใช้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองทดแทนโปรตีนจากปลาป่น ในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลาคาร์ฟ ปลาแรด และปลาเปคูดแดง (ปลาจาระเม็ดน้ำจืด)
  4. การทดลองใช้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองทดแทนโปรตีนจากปลาป่น ในอาหารเม็ดสำเร็จรูป สำหรับเลี้ยงปลาคาร์ฟ ปลาแรด และปลาเปคูแดง (ปลาจาระเม็ดน้ำจืด)
  5. ผลของอาหารมีโปรตีนจากพืชและสัตว์ต่างระดับต่อการเจริญเติบโตของปลาแรด
ปี 2544 :
  1. ระดับของวิตามินอี และวิตามินซี ต่อพัฒนาของระบบสืบพันธุ์ปลาแรด
ปี 2545 :
  1. การใช้กากตะกอนเบียร์ในอัตราส่วนต่าง ๆ กัน เป็นส่วนผสมในอาหารเม็ด ต่ออัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย และประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนในอาหารของปลาแรด และปลาเปคูแดง
  2. ระดับเปอร์เซ็นต์ของการให้อาหารที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย และองค์ประกอบของซากของปลาแรดที่เลี้ยงในกระชัง
ปี 2546 :
  1. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลาแรด
  2. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลานิล
  3. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลาเปคูแดง
  4. ผลของอาหารเม็ดที่มีอัตราส่วนของโปรตีนต่อพลังงานต่างกัน ต่ออัตราการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของปลาแรดเผือกที่เลี้ยงในกระชัง
  5. การทดลองใช้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองทดแทนโปรตีนจากปลาป่น ในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลาคาร์ฟ ปลาแรด และปลาเปคูแดง (ปลาจาระเม็ดน้ำจืด)
  6. การใช้กากตะกอนเบียร์ในอัตราส่วนต่าง ๆ กัน เป็นส่วนผสมในอาหารเม็ด ต่ออัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย และประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนในอาหารของปลาแรด และปลาเปคูแดง
  7. ระดับเปอร์เซ็นต์ของการให้อาหารที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย และองค์ประกอบของซากของปลาแรดที่เลี้ยงในกระชัง
ปี 2548 :
  1. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
  2. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูป สำหรับเลี้ยงปลานิล ปลาแรด และปลาเปคูแดง
  3. ผลของการใช้แหนและผักตบชวาเป็นส่วนผสมในอาหาร ที่มีอัตราส่วนของโปรตีนต่อพลังงานต่างกัน ต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลานิล
  4. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูป สำหรับเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
  5. ผลของการใช้แหนและผักตบชวาเป็นส่วนผสมในอาหาร ที่มีอัตราส่วนของโปรตีนต่อพลังงานที่ย่อยได้ (non-protein energy) ต่างกัน ต่ออัตราการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของปลาเปคูแดง
  6. การจัดการประมงของการเลี้ยงปลาแบบผสมผสานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  7. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลาแรด
  8. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลานิล
  9. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลาเปคูแดง
  10. ผลของอาหารมีโปรตีนจากพืชและสัตว์ต่างระดับต่อการเจริญเติบโตของปลาแรด
ปี 2549 :
  1. ผลของอาหารเม็ดที่มีอัตราส่วนของโปรตีนต่อพลังงานต่างกัน ต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาแรดเผือกที่เลี้ยงในกระชัง
  2. การทดลองใช้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองทดแทนโปรตีนจากปลาป่น ในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงปลาคาร์ฟ ปลาแรด และปลาเปคูดแดง (ปลาจาระเม็ดน้ำจืด)
  3. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสม ในอาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
  4. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูป สำหรับเลี้ยงปลานิล ปลาแรด และปลาเปคูแดง
ปี 2550 :
  1. การผลิตเอ็กโซเอนไซม์จุลินทรีย์ จุลินทรีย์ไบโอฟิล์ม และสัตว์หน้าดิน เพื่อบำบัดน้ำเสียในการเลี้ยงปลาบิ๊กหวาย ปลาทับทิม และกุ้งก้ามกราม
  2. การศึกษาการเลี้ยงปลาผสมผสานในระบบปิด แบบเทคโนโลยีชีวภาพ และระบบการหมุนน้ำกลับมาใช้ใหม่ แบบอะควาโปนิค
  3. การทดลองใช้แหนป่นเป็นส่วนผสมในอาหารที่มีระดับพลังงานที่ย่อยได้ในอาหารต่างกัน ต่อการเจริญเติบโตของปลาซุปเปอร์หวาย
  4. การทดลองใช้เนื้อหอยเชอรี่สดเป็นส่วนผสมในอาหารในปริมาณต่าง ๆ กัน ต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  5. การผลิตเอ็กโซเอนไซม์จุลินทรีย์ จุลินทรีย์ไบโอฟิล์ม และสัตว์หน้าดิน เพื่อบำบัดน้ำเสียในการเลี้ยงปลาบิ๊กหวาย ปลาทับทิม และกุ้งก้ามกราม
  6. การทดลองใช้เนื้อหอยเชอรี่สดเป็นส่วนผสมในอาหารในปริมาณต่างๆกันต่ออัตราการเติบโต และอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  7. การทดลองใช้ผักตบชวาเป็นส่วนผสมในอาหารที่มีระดับพลังงานที่ย่อยได้ในอาหารต่างกันต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  8. การทดลองใช้แหนเป็นส่วนผสมในอาหารที่มีระดับพลังงานที่ย่อยได้ในอาหารต่างกันต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  9. ผลของการใช้แหนและผักตบชวาเป็นส่วนผสมในอาหาร ที่มีอัตราส่วนของโปรตีนต่อพลังงานต่างกัน ต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลานิล
  10. การใช้วัตถุดิบพื้นบ้านบางชนิดเป็นส่วนผสมในอาหารเม็ดสำเร็จรูป สำหรับเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
  11. ผลของการใช้แหนและผักตบชวาเป็นส่วนผสมในอาหาร ที่มีอัตราส่วนของโปรตีนต่อพลังงานที่ย่อยได้ (non-protein energy) ต่างกัน ต่ออัตราการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของปลาเปคูแดง
  12. การจัดการประมงของการเลี้ยงปลาแบบผสมผสานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ปี 2551 :
  1. การทดลองใช้เนื้อหอยเชอรี่สดเป็นส่วนผสมในอาหารในปริมาณต่างๆ กัน ต่ออัตราการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  2. การทดลองใช้แหนป่นเป็นส่วนผสมในอาหารที่มีระดับพลังงานที่ย่อยได้ในอาหารต่างกัน ต่อการเจริญเติบโตของปลาซุปเปอร์หวาย
  3. การทดลองใช้ผักตบชวาเป็นส่วนผสมในอาหารที่มีระดับพลังงานที่ย่อยได้ (non - protein energy) ในอาหารต่างกันต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  4. การศึกษาต้นแบบการผลิตหนอนนกที่เหมาะสม
  5. การศึกษารูปแบบการผลิตหนอนจิ๋ว
  6. การทดลองใช้แหนเป็นส่วนผสมในอาหารที่มีระดับพลังงานที่ย่อยได้(non - protein energy) ในอาหารต่างกันต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  7. การทดลองใช้เนื้อหอยเชอรี่สดเป็นส่วนผสมในอาหารในปริมาณต่าง ๆ กันต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์
  8. การผลิตเอ็กโซเอนไซม์จุลินทรีย์ จุลินทรีย์ไบโอฟิล์ม และ สัตว์หน้าดินเพื่อบำบัดน้ำเสียในการเลี้ยงปลาบิ๊กหวาย ปลาทับทิม และกุ้งก้ามกราม
  9. การศึกษาการผลิตกุ้งฝอยแบบยั่งยืน
ปี 2552 :
  1. การใช้น้ำนึ่งปลาจากการผลิตของโรงงานปลาทูน่ากระป๋องเป็นแหล่งโปรตีนทดแทนปลาป่นในอาหาร สำหรับเลี้ยงปลาสวายเนื้อขาว
  2. การใช้น้ำนึ่งปลาจากการผลิตของโรงงานปลาทูน่ากระป๋องเป็นแหล่งโปรตีนทดแทนปลาป่นในอาหาร สำหรับเลี้ยงปลาสวายเนื้อขาว
  3. การใช้น้ำนึ่งปลาจากการผลิตของโรงงานปลาทูน่ากระป๋อง เป็นแหล่งโปรตีนทดแทนปลาป่นในอาหารสำหรับเลี้ยงปลาสวายเนื้อขาว
ปี 2553 :
  1. การผลิตเอ็กโซเอนไซม์จุลินทรีย์ จุลินทรีย์ไบโอฟิล์ม และสัตว์หน้าดิน เพื่อบำบัดน้ำเสียในการเลี้ยงปลาบิ๊กหวาย ปลาทับทิม และกุ้งก้ามกราม
  2. การศึกษาการเลี้ยงปลาผสมผสานในระบบปิด แบบเทคโนโลยีชีวภาพ และระบบการหมุนน้ำกลับมาใช้ใหม่ แบบอะควาโปนิค
  3. การทดลองใช้แหนป่นเป็นส่วนผสมในอาหารที่มีระดับพลังงานที่ย่อยได้ในอาหารต่างกัน ต่อการเจริญเติบโตของปลาซุปเปอร์หวาย
  4. การทดลองใช้เนื้อหอยเชอรี่สดเป็นส่วนผสมในอาหารในปริมาณต่าง ๆ กัน ต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  5. การทดลองใช้เนื้อหอยเชอรี่สดเป็นส่วนผสมในอาหารในปริมาณต่างๆ กัน ต่ออัตราการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของปลาซุปเปอร์หวาย
  6. การเพาะเลี้ยงหนอนจิ๋ว
  7. การเพาะเลี้ยงกุ้งฝอย



สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ที่อยู่: 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน  อีเมลล์ : ridm@nrct.go.th