ค้นหา

 นักวิจัย : จิระเดช แจ่มสว่าง
นักวิจัย : นายจิระเดช แจ่มสว่าง
Mr. Chiradej Chamsawarng
รหัสนักวิจัย : 38040812
สังกัดหน่วยงาน : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ
Email Address : agrcdc@nontri.ku.ac.th, agrcdc@ku.ac.th
รางวัลที่ได้รับ : - รางวัลคาวากุชิ ผลงานวิจัยดีเด่น สาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เรื่อง "ประสิทธิภาพของเชื้อรา Pythium Oligandrum ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศสาเหตุเชื้อรา Pythium Aphanidermatum"
- รางวัลงานวิจัยดีเด่น
- รางวัลชมเชย การประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้นประเภททั่วไป
- รางวัลชมเชย สาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 4 เรื่อง "การคัดเลือกจุลินทรีย์ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสบนใบของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้"
- รางวัลชมเชยภาคโปสเตอร์ด้านการนำเสนอผลงาน
- รางวัลชมเชยสาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45 เรื่อง "รายงานมูลสัตว์ และการเป็นปฏิปักษ์ของเชื้อรา Sordaria Fimicola ต่อเชื้อราสาเหตุโรคพืชในห้องปฏิบัติการ"
- รางวัลชมเชยสาขาพืชในการประชุมวิชาการครั้งที่ 25
- รางวัลที่ 3 ภาคโปสเตอร์ด้านการนำเสนอผลงาน
- รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น อันดับที่ 3 ภาคแผ่นภาพ ในการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 6 24-27 พฤศจิกายน 2546 จังหวัดขอนแก่น เรื่อง "การควบคุมโรคเน่าดำของกล้วยไม้โดยชีววิธี"
- รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยม
จำนวนผลงานวิจัย : 46
 ผลงานวิจัย
ไม่ระบุ :
  1. โรคฝ้ายและการบริหารโรค : การคลุกเมล็ดฝ้ายด้วยจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคเน่าระดับดินซึ่งเกิดจากเชื้อ Pythium aphanidermatum
  2. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : การสร้าง zearalenone โดยเชื้อ Fusarium spp. ในเมล็ดข้าวโพด
  3. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : การใช้สารสกัดจากพืชควบคุมเชื้อ Aspergillus flavus และอฟลาทอกซินในข้าวโพด
  4. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : การตรวจอฟลาทอกซินที่รวดเร็ว โดยวิธีซีโรโลยี
  5. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : การใช้ยีสต์ Candida sp. และ Torulopsis candida ควบคุม Aspergillus flavus ในเมล็ดข้าวโพด
  6. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : สารสกัดจากเชื้อ Aspergillus niger ควบคุมเชื้อรา Aspergillus flavus และอฟลาทอกซิน ในเมล็ดข้าวโพด
  7. การจัดการโรคใบไหม้ของมะเขือเทศโดยวิธีผสมผสาน
ปี 2531 :
  1. นิเวศน์วิทยาและการควบคุมเชื้อโรคพืชในดินโดยชีววิธี s.
  2. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพดและธัญพืชอื่นๆ
  3. นิเวศน์วิทยาและการควบคุมเชื้อโรคพืชในดินโดยชีววิธี
ปี 2533 :
  1. นิเวศน์วิทยาและการควบคุมเชื้อโรคพืชในดินโดยชีววิธี s.
ปี 2534 :
  1. โรคฝ้ายและการบริหารโรค : การคลุกเมล็ดฝ้ายด้วยจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคเน่าระดับดินซึ่งเกิดจากเชื้อ Pythium aphanidermatum
  2. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพดและธัญพืชอื่นๆ
  3. นิเวศน์วิทยาและการควบคุมเชื้อโรคพืชในดินโดยชีววิธี
ปี 2535 :
  1. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : การสร้าง zearalenone โดยเชื้อ Fusarium spp. ในเมล็ดข้าวโพด
  2. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : การใช้สารสกัดจากพืชควบคุมเชื้อ Aspergillus flavus และอฟลาทอกซินในข้าวโพด
  3. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : การตรวจอฟลาทอกซินที่รวดเร็ว โดยวิธีซีโรโลยี
  4. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : การใช้ยีสต์ Candida sp. และ Torulopsis candida ควบคุม Aspergillus flavus ในเมล็ดข้าวโพด
  5. สารพิษจากเชื้อราและการป้องกันกำจัดในข้าวโพด และธัญพืชอื่นๆ : สารสกัดจากเชื้อ Aspergillus niger ควบคุมเชื้อรา Aspergillus flavus และอฟลาทอกซิน ในเมล็ดข้าวโพด
  6. การควบคุมโรครากและลำต้นเน่าของมะเขือเทศซึ่งเกิดจาก เชื้อ Sclerotium rolfsii Sacc. โดยชีววิธี
ปี 2536 :
  1. การควบคุมโรครากและลำต้นเน่าของมะเขือเทศซึ่งเกิดจาก เชื้อ Sclerotium rolfsii Sacc. โดยชีววิธี
ปี 2539 :
  1. การพัฒนาระบบการผลิตสตรอเบอรี่ปลอดโรคแบบครบวงจร
ปี 2540 :
  1. การควบคุมเชื้อ Phytophthora spp. โดยวิธีประสานการใช้จุลินทรีย์ สารเคมีกำจัดเชื้อรา และปุ๋ยอินทรีย์
  2. การพัฒนาระบบการผลิตสตรอเบอรี่ปลอดโรคแบบครบวงจร
ปี 2542 :
  1. การพัฒนาการผลิตหัวเชื้อราไตรโคเดอร์มาเพื่อเกษตรกร
ปี 2544 :
  1. การพัฒนาการผลิตหัวเชื้อราไตรโคเดอร์มาเพื่อเกษตรกร
ปี 2545 :
  1. การเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเน่าระดับดินที่เกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum ด้วยการใช้เชื้อรา Trichoderma หลาย species ร่วมกัน
  2. การควบคุมเชื้อ Phytophthora spp. โดยวิธีประสานการใช้จุลินทรีย์ สารเคมีกำจัดเชื้อรา และปุ๋ยอินทรีย์
ปี 2547 :
  1. การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืช
ปี 2548 :
  1. การควบคุมโรคแอนแทรกโนสโดยชีววิธีด้วยการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ ที่แยกได้จากผิวของพืช
  2. การเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเน่าระดับดิน ที่เกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum ด้วยการใช้เชื้อรา Trichoderma หลาย species ร่วมกัน
ปี 2549 :
  1. การควบคุมโรคทางเดินของมะเขือเทศ สาเหตุจากเชื้อรา Pythium ด้วยเชื้อราปฏิปักษ์และการจัดการดิน
  2. การจัดการโรคใบไหม้ของมะเขือเทศโดยวิธีผสมผสาน
  3. การผลิตมะเขือเทศภายใต้สภาพโรงเรือนในประเทศไทย
  4. การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืช
ปี 2550 :
  1. การคัดเลือกพันธุ์เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์และชีวภัณฑ์ของเชื้อจุลินทรีย์ ปฏิปักษ์เพื่อควบคุมโรคข้าวในการผลิตข้าวอินทรีย์
  2. การพัฒนาสารสกัดชีวภาพจากเชื้อราเตรโคเดอร์มาเพื่อใช้ควบคุมโรคแอนแทรคโนสที่มีสาเหตุจากเชื้อราคอลเลโตทริค้ม
  3. การควบคุมโรคทางเดินของมะเขือเทศ สาเหตุจากเชื้อรา Pythium ด้วยเชื้อราปฏิปักษ์และการจัดการดิน
  4. การจัดการโรคใบไหม้ของมะเขือเทศโดยวิธีผสมผสาน
  5. การผลิตมะเขือเทศภายใต้สภาพโรงเรือนในประเทศไทย
  6. การควบคุมโรคแอนแทรกโนสโดยชีววิธีด้วยการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ ที่แยกได้จากผิวของพืช
ปี 2551 :
  1. การพัฒนาสารสกัดชีวภาพจากเชื้อราไตรโคเดอร์มาเพื่อใช้ควบคุมโรคแอนแทรคโนสที่มีสาเหตุจากเชื้อราคอลเลโตทริคัม
  2. การพัฒนาการผลิตและรูปแบบของแบคทีเรียปฏิปักษ์เพื่อใช้ควบคุมโรคแอนแทรคโนส
ปี 2552 :
  1. การประยุกต์ใช้แบคทีเรียที่เจริญครอบครองรากในการควบคุมโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์
  2. การคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมของพืชผักบางชนิด
ปี 2554 :
  1. การประยุกต์ใช้แบคทีเรียที่เจริญครอบครองรากในการควบคุมโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์



สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ที่อยู่: 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน  อีเมลล์ : ridm@nrct.go.th